http://poljurisprudence.blogspot.com/2006_10_01_archive.html
http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=jurisprudence
http://www.siriphon.com
ประวัติการศึกษา
1. ปริญญาเอกทางกฎหมายอาญา วิธีพิจารณาความอาญา และรัฐธรรมนูญ (J.S.D. 2551) จาก University of Illinois at Urbana-Champaign (UIUC) ประเทศสหรัฐอเมริกา และ กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สินทางปัญญาเปรียบเทียบ (International Comparative Intellectual Property Law) จาก University of Oxford at St. Peter College ปี พ.ศ. 2550
2. นิติศาสตรมหาบัณฑิต (กฎหมายมหาชนและวิธีพิจารณาความอาญา) (LL.M. 2548) จาก University of Illinois at Urbana-Champaign (UIUC) ประเทศสหรัฐอเมริกา
3. นิติศาสตรมหาบัณฑิต (กฎหมายรัฐธรรมนูญและกฎหมายปกครอง) (LL.M. 2547) จาก Indiana University – Bloomington (IUB) ประเทศสหรัฐอเมริกา
4. ประกาศนียบัตร Financial Complex Investigation (2546) จากสถาบัน International Law Enforcement Academy (ILEA)
http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=jurisprudence
http://www.siriphon.com
ประวัติการศึกษา
1. ปริญญาเอกทางกฎหมายอาญา วิธีพิจารณาความอาญา และรัฐธรรมนูญ (J.S.D. 2551) จาก University of Illinois at Urbana-Champaign (UIUC) ประเทศสหรัฐอเมริกา และ กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สินทางปัญญาเปรียบเทียบ (International Comparative Intellectual Property Law) จาก University of Oxford at St. Peter College ปี พ.ศ. 2550
2. นิติศาสตรมหาบัณฑิต (กฎหมายมหาชนและวิธีพิจารณาความอาญา) (LL.M. 2548) จาก University of Illinois at Urbana-Champaign (UIUC) ประเทศสหรัฐอเมริกา
3. นิติศาสตรมหาบัณฑิต (กฎหมายรัฐธรรมนูญและกฎหมายปกครอง) (LL.M. 2547) จาก Indiana University – Bloomington (IUB) ประเทศสหรัฐอเมริกา
4. ประกาศนียบัตร Financial Complex Investigation (2546) จากสถาบัน International Law Enforcement Academy (ILEA)
5. นิติศาสตรมหาบัณฑิต (กฎหมายมหาชน) (2546) จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
6. เนติบัณฑิตไทย (น.บ.ท.) สมัยที่ 53 (2544)
7. นิติศาสตรบัณฑิต (นบ.) (เกียรตินิยมอันดับสอง) (2543) จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
8. รัฐศาสตรมหาบัณฑิต (รม.) สาขาบริหารรัฐกิจ (2540) จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
9. รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต (รป.บ.(ตร.)) (2537) โรงเรียนนายร้อยตำรวจ (นรต.รุ่น 47)
หน้าที่ความรับผิดชอบปัจจุบันและประสบการณ์ทำงานในอดีต
1. รองผู้กำกับการ กลุ่มงานอุทธรณ์และฎีกาคดี กองคดีอาญา ปฎิบัติหน้าที่ให้คำปรึกษากฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ของตำรวจและผู้บังคับบัญชาสำนักงานตำรวจแห่งชาติ, 2551 - ปัจจุบัน
ให้คำปรึกษากฎหมายและได้รับเชิญจาก Friedrich Naumann Foundation ให้เข้าร่วมอบรมสัมมนา เรื่อง Conflict Prevention and Conflict Management ที่ประเทศเยอรมัน (ก.พ. 2552)
2. สารวัตร กลุ่มงานคดีอาญา กองคดีอาญา สำนักงานกฎหมายและสอบสวน ทำหน้าที่ให้คำปรึกษาทางกฎหมาย ในหน้าที่ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ แก่ผู้บังคับบัญชา ระดับ ตร., (พ.ค.-พ.ย.2551)
เป็นคณะทำงานและตัวแทนสำนักงานตำรวจแห่งชาติในการประชุมและชี้แจงกฎหมายแก่สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, สภาผู้แทนราษฎร ฯลฯ และ ตัวแทนสำนักงานตำรวจแห่งชาติในการประชุมระหว่างประเทศที่มาเลเซีย
3. สารวัตรงาน 6 ฝ่ายตรวจสอบสำนวน กองคดีอาญา สำนักงานกฎหมายฯ 2544-2546.
3.1 พิจารณาสำนวนคดีอาชญากรรมทางเศรษฐกิจที่พนักงานอัยการสั่งไม่ฟ้อง เสนอความเห็นชอบและความเห็นแย้งคำสั่งไม่ฟ้องของพนักงานอัยการ คดีอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 145
3.2 เป็นคณะกรรมการ และผู้ช่วยเลขานุการคณะกรรมการร่างกฎหมาย ระเบียบ ตามคำสั่ง ตร. หลายคณะ เช่น คณะกรรมการแก้ไขข้อตกลงระหว่างกระทรวงกลาโหมกับมหาดไทยว่าด้วยการจับกุมทหาร
3.3 จัดทำคู่มือและคำแนะนำการตรวจสอบสำนวนคดีอาญาและการทำความเห็นแย้ง
4. สารวัตรงานนโยบายและแผน (ปฏิบัติหน้าที่ สารวัตรธุรการและกำลังพล กองคดีอาญา สำนักงานกฎหมายฯ) 2543-2544
หน้าที่พิเศษ
1. อนุกรรมการ ฯ คณะกรรมาธิการตำรวจ วุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๕๒
2. ที่ปรึกษาคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน พ.ศ. ๒๕๕๒
3. คณะกรรมการ ร่างกฎเกณฑ์การออกสลากกินแบ่งรัฐบาลพิเศษ(ออนไลน์) ของสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล พ.ศ. ๒๕๕๑
4. คณะกรรมการ ร่างกฎหมายว่าด้วยการจัดระเบียบการชุมนุม สำนักงานตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๑
5. คณะกรรมการ ร่างกฎหมายอื่น ๆ ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ
บทความตีพิมพ์ ในวารสาร
ศิริพล กุศลศิลป์วุฒิ, ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายมหาชนและกฎหมายปกครองของสหรัฐอเมริกา, วารสารรพี คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๑ (๒๕๕๒), หน้า ๒๑๗ - ๒๓๐
ศิริพล กุศลศิลป์วุฒิ, ปรากฎการณ์การกระทำผิดของตำรวจกับแนวคิดในการแก้ไขปัญหา, วารสารข่าวเนติบัณฑิตยสภา ประจำเดือนพฤษภาคม ๒๕๕๑, ปีที่ ๒๑, ฉบับที่ ๒๒๖, หน้า ๙-๑๒
ศิริพล กุศลศิลป์วุฒิ, ความเห็นต่อหลักกฎหมาย ป.ป.ช.เกี่ยวกับอำนาจในการชี้มูลทางวินัยข้าราชการตำรวจ,
วารสารตำรวจ ปีที่ 45 ฉบับที่ 419 (เม.ย.-มิ.ย.2552) 28-33
ศิริพล กุศลศิลป์วุฒิ, การรับคำรับสารภาพในประเทศอังกฤษ,วารสารกฎหมายมหาวิทยาลัยนเรศวร, ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 (2551) 60-84
ศิริพล กุศลศิลป์วุฒิ, กฎหมายว่าด้วยคำรับสารภาพ : บทนำและความสำคัญของคำรับสารภาพ, บทบัณฑิตย์ 63 (มี.ค.2550) 131 – 159
ศิริพล กุศลศิลป์วุฒิ, ตำรวจกับกระบวนการยุติธรรมในประเทศสหรัฐอเมริกา, วารสารวิชาการตำรวจ, 2547
ศิริพล กุศลศิลป์วุฒิ, หลักกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิและเสรีภาพในการชุมนุมของประเทศสหรัฐอเมริกา, ปีที่ 2 ฉบับที่ 3 (ม.ค.2552) 11-21
ประสบการณ์การสอน
1. บรรยายพิเศษ ผู้ช่วยผู้พิพากษา รุ่นที่ ๕๕ เกี่ยวกับการรับฟังพยานหลักฐานของศาลสหรัฐฯ และ บทบาทของตำรวจในกระบวนการยุติธรรมในประเทศสหรัฐฯ
2. บรรยายพิเศษ ว่าด้วย Law & Social Control สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินทร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
3. บรรยายพิเศษ ว่าด้วยตำรวจกับกระบวนการยุติธรรม ในหลักสูตรปริญญาโท สาขาการบริหารกระบวนการยุติธรรม คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
4. บรรยายพิเศษ ว่าด้วยจริยธรรม และความรับผิดของแพทย์ตามกฎหมาย คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
5. บรรยายพิเศษวิชา กม.อาญาชั้นสูง ภาคภาษาอังกฤษ หลักสูตร LL.M. คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
6. บรรยายพิเศษวิชา กม.อาญาชั้นสูง หลักสูตรปริญญาโท มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี
7. บรรยายพิเศษวิชา กม.ทรัพย์สินทางปัญญา หลักสูตรปริญญาโท มหาวิทยาลัยรามคำแหง
8. บรรยายพิเศษวิชา กม.ทรัพย์สินทางปัญญา คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
9. บรรยายพิเศษวิชา กม.ระหว่างประเทศ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตย์
10. บรรยายพิเศษวิชา ภาษาอังกฤษสำหรับนักกฎหมาย คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
11. อดีตผู้บรรยายพิเศษวิชากฎหมายลักษณะพยาน กฎหมายอาญา และหลักรัฐประศาสนาศาสตร์ ให้สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ (วิทยาลัยพยาบาลตำรวจ, สถาบันราชภัฎสวนสุนันทา และ สถาบันราชภัฎเพชรบุรีวิทยาลงกรณ์)
เกียรติประวัติด้านอื่น ๆ
1. รางวัลเรียนดี และลักษณะทหารดี โรงเรียนเตรียมทหาร 2531
2. รางวัลเรียนดี (สอบไล่ได้อันดับที่สอง) และ รางวัลลักษณะทหารดี (ได้รับแต่งตั้งเป็นรองหัวหน้านักเรียนนายร้อยตำรวจรุ่น 47 ) โรงเรียนนายร้อยตำรวจ 2537
3. พนักงานสอบสวนดีเด่น กรมตำรวจ 2538
4. สอบไล่ได้เป็นลำดับที่ 3 คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2543
5. สอบไล่เนติบัณฑิต สมัยที่ 53 ได้คะแนนสูงสุดใน 10 ลำดับแรก 2544
6. สอบไล่ได้อันดับหนึ่ง โรงเรียนสารวัตร รุ่น 56 สถาบันพัฒนาข้าราชการตำรวจ
7. เป็นนักเรียนทุนรัฐบาล (ก.พ.) ศึกษาต่อปริญญาโทและเอกทางกฎหมาย ณ สหรัฐอเมริกา 2546
8. ได้รับคัดเลือกเป็นคณะทำงานฝ่ายกฎหมาย ธนาคารโลก (World Bank) 2547 (แต่ประสงค์จะรับราชการต่อไป จึงตอบปฏิเสธ)
9. ได้รับทุนไปศึกษาวิจัยงานตำรวจและกระบวนการยุติธรรมประเทศญี่ปุ่น จาก Center For East Asian Pacific Studies (EAPS), University of Illinois 2549
10. ได้รับทุนไปศึกษากฎหมายว่าด้วยคำรับสารภาพ ประเทศอังกฤษ จากศูนย์ศึกษา Law & Economic, College of Law University of Illinois 2550
11. ได้รับเชิญเข้าร่วมสัมมนาและฝึกอบรม Friedrich Naumann Foundation ประเทศเยอรมันนี ปี พ.ศ. 2552
6. เนติบัณฑิตไทย (น.บ.ท.) สมัยที่ 53 (2544)
7. นิติศาสตรบัณฑิต (นบ.) (เกียรตินิยมอันดับสอง) (2543) จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
8. รัฐศาสตรมหาบัณฑิต (รม.) สาขาบริหารรัฐกิจ (2540) จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
9. รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต (รป.บ.(ตร.)) (2537) โรงเรียนนายร้อยตำรวจ (นรต.รุ่น 47)
หน้าที่ความรับผิดชอบปัจจุบันและประสบการณ์ทำงานในอดีต
1. รองผู้กำกับการ กลุ่มงานอุทธรณ์และฎีกาคดี กองคดีอาญา ปฎิบัติหน้าที่ให้คำปรึกษากฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ของตำรวจและผู้บังคับบัญชาสำนักงานตำรวจแห่งชาติ, 2551 - ปัจจุบัน
ให้คำปรึกษากฎหมายและได้รับเชิญจาก Friedrich Naumann Foundation ให้เข้าร่วมอบรมสัมมนา เรื่อง Conflict Prevention and Conflict Management ที่ประเทศเยอรมัน (ก.พ. 2552)
2. สารวัตร กลุ่มงานคดีอาญา กองคดีอาญา สำนักงานกฎหมายและสอบสวน ทำหน้าที่ให้คำปรึกษาทางกฎหมาย ในหน้าที่ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ แก่ผู้บังคับบัญชา ระดับ ตร., (พ.ค.-พ.ย.2551)
เป็นคณะทำงานและตัวแทนสำนักงานตำรวจแห่งชาติในการประชุมและชี้แจงกฎหมายแก่สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, สภาผู้แทนราษฎร ฯลฯ และ ตัวแทนสำนักงานตำรวจแห่งชาติในการประชุมระหว่างประเทศที่มาเลเซีย
3. สารวัตรงาน 6 ฝ่ายตรวจสอบสำนวน กองคดีอาญา สำนักงานกฎหมายฯ 2544-2546.
3.1 พิจารณาสำนวนคดีอาชญากรรมทางเศรษฐกิจที่พนักงานอัยการสั่งไม่ฟ้อง เสนอความเห็นชอบและความเห็นแย้งคำสั่งไม่ฟ้องของพนักงานอัยการ คดีอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 145
3.2 เป็นคณะกรรมการ และผู้ช่วยเลขานุการคณะกรรมการร่างกฎหมาย ระเบียบ ตามคำสั่ง ตร. หลายคณะ เช่น คณะกรรมการแก้ไขข้อตกลงระหว่างกระทรวงกลาโหมกับมหาดไทยว่าด้วยการจับกุมทหาร
3.3 จัดทำคู่มือและคำแนะนำการตรวจสอบสำนวนคดีอาญาและการทำความเห็นแย้ง
4. สารวัตรงานนโยบายและแผน (ปฏิบัติหน้าที่ สารวัตรธุรการและกำลังพล กองคดีอาญา สำนักงานกฎหมายฯ) 2543-2544
หน้าที่พิเศษ
1. อนุกรรมการ ฯ คณะกรรมาธิการตำรวจ วุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๕๒
2. ที่ปรึกษาคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน พ.ศ. ๒๕๕๒
3. คณะกรรมการ ร่างกฎเกณฑ์การออกสลากกินแบ่งรัฐบาลพิเศษ(ออนไลน์) ของสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล พ.ศ. ๒๕๕๑
4. คณะกรรมการ ร่างกฎหมายว่าด้วยการจัดระเบียบการชุมนุม สำนักงานตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๑
5. คณะกรรมการ ร่างกฎหมายอื่น ๆ ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ
บทความตีพิมพ์ ในวารสาร
ศิริพล กุศลศิลป์วุฒิ, ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายมหาชนและกฎหมายปกครองของสหรัฐอเมริกา, วารสารรพี คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๑ (๒๕๕๒), หน้า ๒๑๗ - ๒๓๐
ศิริพล กุศลศิลป์วุฒิ, ปรากฎการณ์การกระทำผิดของตำรวจกับแนวคิดในการแก้ไขปัญหา, วารสารข่าวเนติบัณฑิตยสภา ประจำเดือนพฤษภาคม ๒๕๕๑, ปีที่ ๒๑, ฉบับที่ ๒๒๖, หน้า ๙-๑๒
ศิริพล กุศลศิลป์วุฒิ, ความเห็นต่อหลักกฎหมาย ป.ป.ช.เกี่ยวกับอำนาจในการชี้มูลทางวินัยข้าราชการตำรวจ,
วารสารตำรวจ ปีที่ 45 ฉบับที่ 419 (เม.ย.-มิ.ย.2552) 28-33
ศิริพล กุศลศิลป์วุฒิ, การรับคำรับสารภาพในประเทศอังกฤษ,วารสารกฎหมายมหาวิทยาลัยนเรศวร, ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 (2551) 60-84
ศิริพล กุศลศิลป์วุฒิ, กฎหมายว่าด้วยคำรับสารภาพ : บทนำและความสำคัญของคำรับสารภาพ, บทบัณฑิตย์ 63 (มี.ค.2550) 131 – 159
ศิริพล กุศลศิลป์วุฒิ, ตำรวจกับกระบวนการยุติธรรมในประเทศสหรัฐอเมริกา, วารสารวิชาการตำรวจ, 2547
ศิริพล กุศลศิลป์วุฒิ, หลักกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิและเสรีภาพในการชุมนุมของประเทศสหรัฐอเมริกา, ปีที่ 2 ฉบับที่ 3 (ม.ค.2552) 11-21
ประสบการณ์การสอน
2. บรรยายพิเศษ ว่าด้วย Law & Social Control สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินทร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
3. บรรยายพิเศษ ว่าด้วยตำรวจกับกระบวนการยุติธรรม ในหลักสูตรปริญญาโท สาขาการบริหารกระบวนการยุติธรรม คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
4. บรรยายพิเศษ ว่าด้วยจริยธรรม และความรับผิดของแพทย์ตามกฎหมาย คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
5. บรรยายพิเศษวิชา กม.อาญาชั้นสูง ภาคภาษาอังกฤษ หลักสูตร LL.M. คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
6. บรรยายพิเศษวิชา กม.อาญาชั้นสูง หลักสูตรปริญญาโท มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี
7. บรรยายพิเศษวิชา กม.ทรัพย์สินทางปัญญา หลักสูตรปริญญาโท มหาวิทยาลัยรามคำแหง
8. บรรยายพิเศษวิชา กม.ทรัพย์สินทางปัญญา คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
9. บรรยายพิเศษวิชา กม.ระหว่างประเทศ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตย์
10. บรรยายพิเศษวิชา ภาษาอังกฤษสำหรับนักกฎหมาย คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
11. อดีตผู้บรรยายพิเศษวิชากฎหมายลักษณะพยาน กฎหมายอาญา และหลักรัฐประศาสนาศาสตร์ ให้สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ (วิทยาลัยพยาบาลตำรวจ, สถาบันราชภัฎสวนสุนันทา และ สถาบันราชภัฎเพชรบุรีวิทยาลงกรณ์)
เกียรติประวัติด้านอื่น ๆ
2. รางวัลเรียนดี (สอบไล่ได้อันดับที่สอง) และ รางวัลลักษณะทหารดี (ได้รับแต่งตั้งเป็นรองหัวหน้านักเรียนนายร้อยตำรวจรุ่น 47 ) โรงเรียนนายร้อยตำรวจ 2537
3. พนักงานสอบสวนดีเด่น กรมตำรวจ 2538
4. สอบไล่ได้เป็นลำดับที่ 3 คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2543
5. สอบไล่เนติบัณฑิต สมัยที่ 53 ได้คะแนนสูงสุดใน 10 ลำดับแรก 2544
6. สอบไล่ได้อันดับหนึ่ง โรงเรียนสารวัตร รุ่น 56 สถาบันพัฒนาข้าราชการตำรวจ
7. เป็นนักเรียนทุนรัฐบาล (ก.พ.) ศึกษาต่อปริญญาโทและเอกทางกฎหมาย ณ สหรัฐอเมริกา 2546
8. ได้รับคัดเลือกเป็นคณะทำงานฝ่ายกฎหมาย ธนาคารโลก (World Bank) 2547 (แต่ประสงค์จะรับราชการต่อไป จึงตอบปฏิเสธ)
9. ได้รับทุนไปศึกษาวิจัยงานตำรวจและกระบวนการยุติธรรมประเทศญี่ปุ่น จาก Center For East Asian Pacific Studies (EAPS), University of Illinois 2549
10. ได้รับทุนไปศึกษากฎหมายว่าด้วยคำรับสารภาพ ประเทศอังกฤษ จากศูนย์ศึกษา Law & Economic, College of Law University of Illinois 2550
11. ได้รับเชิญเข้าร่วมสัมมนาและฝึกอบรม Friedrich Naumann Foundation ประเทศเยอรมันนี ปี พ.ศ. 2552
พี่เป็นแบบอย่างทีดีของ นรต.รุ่นน้องครับ....
ตอบลบความคิดเห็นนี้ถูกลบโดยผู้ดูแลระบบของบล็อก
ตอบลบแล้วคนที่ว่าผู้อื่นล่ะฝักไฝ่ทางดีนักหรือ ก่อนจะว่าคนอื่น ตักน้ำใส่กโหลก
ตอบลบชโงกดูเงาเศียรตัวบ้างนะ รู้หรือ ลึก หนา ตื้น บาง เป็นยังไงเขาเป็นคนมีการศึกษา ย่อมแยกแยะความถูกผิดเป็น ที่กล่าวหาเขานั่นแหล่ะคนไม่มีการศึกษา
ฟ้าขาว
ความคิดเห็นนี้ถูกลบโดยผู้ดูแลระบบของบล็อก
ตอบลบทำไมวะ เป้นตำรวจแล้วนิยมแนวทางการต่อสู้ เพื่อให้ได้ ปชต. อย่างที่คนเสื้อแดงทำ มันหนักหัวมึงเหรอ
ตอบลบพี่เขาเรียนมาสูง เขาย่อมรู้ว่า อะไรเป้นอะไรในบ้านในเมืองนี้
เองน่ะ แหกตัวดูรอบตัวบ้างนะ
ลัทธิล่าพ่อมด แม่มด ระบาดมาถึงนี่
ตอบลบถามผู้รู้ คดีคนเก็บขยะพบแผ่น CD แล้วนำไปขายก็เข้าใจค่ะว่าละเมิดลิขสิทธิ์แต่เขาคงไม่คิดไกลขนาดนั้น แล้วตำรวจคนที่จับ จับทำไมคะ
ตอบลบปริญญาต่างๆที่โชว์.. ที่หน่วยงานผมมีแทบจะเหยียบกันตาย... แต่หน่วยงานผมก็ยังลุ่มๆดอนๆอยู่เลย ปริญญาที่มาอวดช่วยอะไรองค์กรและประเทศชาติไม่ได้เลย.... เริ่มแรก พัฒนาความคิดตัวเองก่อนจะดีที่สุดครับ....
ตอบลบ