คณิต ณ นคร ประธานคณะกรรมการอิสระตรวจสอบและค้นหาความจริงเพื่อความปรองดองแห่งชาติ
ที่สุดแล้ว บ่าย 2 วันที่ 10 ม.ค.2555 โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีก็ออกมาแถลงผลการประชุม ครม.เกี่ยวกับการ พิจารณาข้อเสนอแนะเพื่อส่งเสริมให้การเยียวยาและฟื้นฟูเหยื่อและผู้เสียหาย ผู้ที่ได้รับผลกระทบจากความรุนแรง หรือความขัดแย้งทางการเมือง ที่เกิดขึ้นตั้งแต่ก่อนการรัฐประหาร 19 ก.ย.2549 เรื่อยมาจนถึง เหตุการณ์เดือน พ.ค.2553 โดยครอบคลุมถึงประชาชนทุกกลุ่ม เจ้าหน้าที่ของรัฐ สื่อมวลชน และภาคเอกชน ตลอดจนครอบครัวของผู้ที่ได้รับผลกระทบ โดยใช้งบประมาณคร่าวๆ 2,000 ล้านบาท แบ่งหลักๆได้เป็น
1. เงินชดเชยกรณีการเสียชีวิต 4.5 ล้านบาท
2. เงินช่วยเหลือสำหรับค่าปลงศพ 2.5 แสนบาท/ราย
3. เงินชดเชยกรณีทุพพลภาพ 4.5 ล้านบาท/ราย
4. เงินชดเชยกรณีสูญเสียอวัยวะ แยกเป็น
4.1 สูญเสียอวัยวะสำคัญ อัตราร้อยละ 80 ของเงินชดเชยกรณีเสียชีวิต (3.6 ล้านบาท/ราย)
4.2 สูญเสียอวัยวะไม่สำคัญ อัตราร้อยละ 40 ของเงินชดเชยกรณีเสียชีวิต (1.8 ล้านบาท/ราย)
5. เงินชดเชยกรณีได้รับบาดเจ็บไม่สูญเสียอวัยวะ แบ่งเป็น
5.1 ได้รับบาดเจ็บสาหัส อัตราร้อยละ 25 ของเงินชดเชยกรณีเสียชีวิต (1,125,000 บาท/ราย)
5.2 ได้รับบาดเจ็บไม่สาหัส อัตราร้อยละ 15 ของเงินชดเชยกรณีเสียชีวิต (675,000 บาท/ราย)
5.3 ได้รับบาดเจ็บเล็กน้อย อัตราร้อยละ 5 ของเงินชดเชยกรณีเสียชีวิต (225,000 บาท/ราย)
นอกจากนี้ยังมีเงินเยียวยาในส่วนค่ารักษาพยาบาลอีก ที่เข้าสู่การพิจารณาของคณะรัฐมนตรีไปแล้ว รวมๆก็ 2,000 ล้านบาทอย่างที่บอก งานนี้หลายคนจับจ้องมองประเด็นอยู่ที่การทำเพื่อ 91 ศพ ในเหตุการณ์ พ.ค.53 แต่หากย้อนไปดูเนื้อหาจะพบว่ารัฐนับตั้งแต่ก่อนรัฐประหาร 19 ก.ย.49…. ทีนี้ไม่ว่าเหลืองว่าแดง ตำรวจหรือทหาร ข้าราชการหรือพลเรือน ก็เข้ามารับการเยียวยากันให้หมด ก็หวังว่า "เงิน" จะช่วยลดความขัดแย้งแตกแยกได้ตามผลการศึกษาข้อเท็จจริงของ อาจารย์คณิต ณ นคร
ชื่อ-นามสกุล : คณิต ณ นคร
วัน-เดือน-ปีเกิด : 9 เมษายน 2480
ประวัติครอบครัว :
- บิดา นายนัด ณ นคร (เสียชีวิต มิ.ย.2539 ที่บ้านเลขที่ 130/10 ถนนพานธม ต.ในเมือง จ.นครศรีธรรมราช)
- มารดา นางเปรียบ ณ นคร (ฌาปนกิจศพ 4 ส.ค.2552 เวลา 17.00 น.
- เป็นบุตรคนที่ 3 ในจำนวนพี่น้องทั้งหมด 8 คน ของนายนัด และนางเปรียบ ณ นคร (เสียชีวิตทั้งคู่)
- ภรรยาชื่อ นางโสธร ณ นคร มีบุตร-ธิดา 4 คน
การศึกษา และดูงาน :
- ประถมศึกษา โรงเรียนวัดม่วง อ.ฉวาง จ.นครศรีธรรมราช
- มัธยมศึกษา โรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดนครศรีธรรมราช
- ปี 2504 ปริญญาตรี นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- ปี 2505 เนติบัณฑิตไทย สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา
- ปี 2520 DOKTOR DER RECHTE มหาวิทยาลัยแห่งกรุงบอนน์ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (ทุนรัฐบาล)
- ปริญญานิติศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ตำแหน่งปัจจุบัน :
- 13 พฤศจิกายน 2550 ประธานกรรมการปฏิรูปกฎหมาย
- 16 ตุลาคม 2552 กรรมการกฤษฎีกา
การทำงาน และตำแหน่งหน้าที่ :
- อัยการผู้ช่วย กองคดี
- อัยการจังหวัดผู้ช่วย จังหวัดภูเก็ต
- อัยการจังหวัดผู้ช่วย จังหวัดชุมพร
- อัยการประจำกรม และอัยการพิเศษประจำกรม กองวิชาการ
- ตุลาการรัฐธรรมนูญ
- ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมาย วิธีพิจารณาความแพ่ง
- 1 ตุลาคม 2528 รองอัยการพิเศษฝ่ายปรึกษา กองที่ปรึกษา กรมอัยการ
- 1 ตุลาคม 2531 อัยการพิเศษฝ่ายคดีแรงงาน
- 1 ตุลาคม 2533 รองอธิบดีกรมอัยการ ฝ่ายคดี
- 28 กุมภาพันธ์ 2535 รองอัยการสูงสุด ฝ่ายคดี ( 1 ต.ค.2533- 30 ก.ย.2537)
-1 ตุลาคม 2537 อัยการสูงสุด (เกษียณ 1 ต.ค.2540)
ตำแหน่งอื่นๆ :
- 20 ธันวาคม 2537 กรรมการบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน)
- 15 สิงหาคม 2538 กรรมการองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย
- 11 กันยายน 2538 กรรมการไต่สวนสาธารณะ
- 2538-2540 กรรมการธนาคารกรุงไทย
- 1 มีนาคม 2539 กรรมการธนาคารอาคารสงเคราะห์
- 24 ธันวาคม 2539 กรรมการบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน)
- 26 ธันวาคม 2539 สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ สาขากฎหมายมหาชน (ส.ส.ร.สาขากฎหมายมหาชน)(พ้นจากตำแหน่ง 11 ต.ค. 2540)
- 15 มกราคม 2540 กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
- 12 กรกฎาคม 2540 กรรมการร่างกฎหมาย รองหัวหน้าพรรคไทยรักไทย
- 15 พฤษภาคม 2541 กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- 12 กรกฎาคม 2543 กรรมการกฤษฎีกา
- 22 กันยายน 2544 กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
- 13 กันยายน 2545 กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- 20 กันยายน 2546 กรรมการกฤษฎีกา
- 22 มิถุนายน 2547 กรรมการคดีพิเศษประเภทกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามพระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษ พ.ศ.2547 ด้านกฎหมาย
- 16 ตุลาคม 2549 กรรมการกฤษฎีกา
- 31 ตุลาคม 2549 กรรมการคดีพิเศษ
ประธานสอบคดีฆ่าตัดตอนในช่วงการประกาศสงครามยาเสพติดของรัฐบาลทักษิณ
ประธานกรรมการบัณฑิตศึกษา คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
กรรมการพัฒนากฎหมาย กรรมการพิจารณาทบทวนกฎหมายอาญา สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
กรรมการข้าราชการพลเรือน ในสถาบันอุดมศึกษา
ประธานคณะกรรมการอิสระตรวจสอบ ศึกษาและวิเคราะห์การกำหนดนโยบายปราบปรามยาเสพติดให้ โทษและการนำนโยบายไปปฏิบัติจนเกิดความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย ชื่อเสียง และทรัพย์สินของประชาชน (คตน.)
คณบดี คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
- 13 พฤศจิกายน 2550 ประธานกรรมการปฏิรูปกฎหมาย
- 16 ตุลาคม 2552 กรรมการกฤษฎีกา
เครื่องราช :
- ปี 2539 นิติโดมดีเด่น
- ปี 2539 ได้รับยกย่องเชิดชูในฐานะผู้ทำคุณประโยชน์ต่อเยาวชน สาขากฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิเด็กและเยาวชน
- 10 กันยายน 2550 เข็มเกียริตยศ
ที่สุดแล้ว บ่าย 2 วันที่ 10 ม.ค.2555 โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีก็ออกมาแถลงผลการประชุม ครม.เกี่ยวกับการ พิจารณาข้อเสนอแนะเพื่อส่งเสริมให้การเยียวยาและฟื้นฟูเหยื่อและผู้เสียหาย ผู้ที่ได้รับผลกระทบจากความรุนแรง หรือความขัดแย้งทางการเมือง ที่เกิดขึ้นตั้งแต่ก่อนการรัฐประหาร 19 ก.ย.2549 เรื่อยมาจนถึง เหตุการณ์เดือน พ.ค.2553 โดยครอบคลุมถึงประชาชนทุกกลุ่ม เจ้าหน้าที่ของรัฐ สื่อมวลชน และภาคเอกชน ตลอดจนครอบครัวของผู้ที่ได้รับผลกระทบ โดยใช้งบประมาณคร่าวๆ 2,000 ล้านบาท แบ่งหลักๆได้เป็น
1. เงินชดเชยกรณีการเสียชีวิต 4.5 ล้านบาท
2. เงินช่วยเหลือสำหรับค่าปลงศพ 2.5 แสนบาท/ราย
3. เงินชดเชยกรณีทุพพลภาพ 4.5 ล้านบาท/ราย
4. เงินชดเชยกรณีสูญเสียอวัยวะ แยกเป็น
4.1 สูญเสียอวัยวะสำคัญ อัตราร้อยละ 80 ของเงินชดเชยกรณีเสียชีวิต (3.6 ล้านบาท/ราย)
4.2 สูญเสียอวัยวะไม่สำคัญ อัตราร้อยละ 40 ของเงินชดเชยกรณีเสียชีวิต (1.8 ล้านบาท/ราย)
5. เงินชดเชยกรณีได้รับบาดเจ็บไม่สูญเสียอวัยวะ แบ่งเป็น
5.1 ได้รับบาดเจ็บสาหัส อัตราร้อยละ 25 ของเงินชดเชยกรณีเสียชีวิต (1,125,000 บาท/ราย)
5.2 ได้รับบาดเจ็บไม่สาหัส อัตราร้อยละ 15 ของเงินชดเชยกรณีเสียชีวิต (675,000 บาท/ราย)
5.3 ได้รับบาดเจ็บเล็กน้อย อัตราร้อยละ 5 ของเงินชดเชยกรณีเสียชีวิต (225,000 บาท/ราย)
นอกจากนี้ยังมีเงินเยียวยาในส่วนค่ารักษาพยาบาลอีก ที่เข้าสู่การพิจารณาของคณะรัฐมนตรีไปแล้ว รวมๆก็ 2,000 ล้านบาทอย่างที่บอก งานนี้หลายคนจับจ้องมองประเด็นอยู่ที่การทำเพื่อ 91 ศพ ในเหตุการณ์ พ.ค.53 แต่หากย้อนไปดูเนื้อหาจะพบว่ารัฐนับตั้งแต่ก่อนรัฐประหาร 19 ก.ย.49…. ทีนี้ไม่ว่าเหลืองว่าแดง ตำรวจหรือทหาร ข้าราชการหรือพลเรือน ก็เข้ามารับการเยียวยากันให้หมด ก็หวังว่า "เงิน" จะช่วยลดความขัดแย้งแตกแยกได้ตามผลการศึกษาข้อเท็จจริงของ อาจารย์คณิต ณ นคร
ชื่อ-นามสกุล : คณิต ณ นคร
วัน-เดือน-ปีเกิด : 9 เมษายน 2480
ประวัติครอบครัว :
- บิดา นายนัด ณ นคร (เสียชีวิต มิ.ย.2539 ที่บ้านเลขที่ 130/10 ถนนพานธม ต.ในเมือง จ.นครศรีธรรมราช)
- มารดา นางเปรียบ ณ นคร (ฌาปนกิจศพ 4 ส.ค.2552 เวลา 17.00 น.
- เป็นบุตรคนที่ 3 ในจำนวนพี่น้องทั้งหมด 8 คน ของนายนัด และนางเปรียบ ณ นคร (เสียชีวิตทั้งคู่)
- ภรรยาชื่อ นางโสธร ณ นคร มีบุตร-ธิดา 4 คน
การศึกษา และดูงาน :
- ประถมศึกษา โรงเรียนวัดม่วง อ.ฉวาง จ.นครศรีธรรมราช
- มัธยมศึกษา โรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดนครศรีธรรมราช
- ปี 2504 ปริญญาตรี นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- ปี 2505 เนติบัณฑิตไทย สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา
- ปี 2520 DOKTOR DER RECHTE มหาวิทยาลัยแห่งกรุงบอนน์ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (ทุนรัฐบาล)
- ปริญญานิติศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ตำแหน่งปัจจุบัน :
- 13 พฤศจิกายน 2550 ประธานกรรมการปฏิรูปกฎหมาย
- 16 ตุลาคม 2552 กรรมการกฤษฎีกา
การทำงาน และตำแหน่งหน้าที่ :
- อัยการผู้ช่วย กองคดี
- อัยการจังหวัดผู้ช่วย จังหวัดภูเก็ต
- อัยการจังหวัดผู้ช่วย จังหวัดชุมพร
- อัยการประจำกรม และอัยการพิเศษประจำกรม กองวิชาการ
- ตุลาการรัฐธรรมนูญ
- ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมาย วิธีพิจารณาความแพ่ง
- 1 ตุลาคม 2528 รองอัยการพิเศษฝ่ายปรึกษา กองที่ปรึกษา กรมอัยการ
- 1 ตุลาคม 2531 อัยการพิเศษฝ่ายคดีแรงงาน
- 1 ตุลาคม 2533 รองอธิบดีกรมอัยการ ฝ่ายคดี
- 28 กุมภาพันธ์ 2535 รองอัยการสูงสุด ฝ่ายคดี ( 1 ต.ค.2533- 30 ก.ย.2537)
-1 ตุลาคม 2537 อัยการสูงสุด (เกษียณ 1 ต.ค.2540)
ตำแหน่งอื่นๆ :
- 20 ธันวาคม 2537 กรรมการบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน)
- 15 สิงหาคม 2538 กรรมการองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย
- 11 กันยายน 2538 กรรมการไต่สวนสาธารณะ
- 2538-2540 กรรมการธนาคารกรุงไทย
- 1 มีนาคม 2539 กรรมการธนาคารอาคารสงเคราะห์
- 24 ธันวาคม 2539 กรรมการบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน)
- 26 ธันวาคม 2539 สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ สาขากฎหมายมหาชน (ส.ส.ร.สาขากฎหมายมหาชน)(พ้นจากตำแหน่ง 11 ต.ค. 2540)
- 15 มกราคม 2540 กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
- 12 กรกฎาคม 2540 กรรมการร่างกฎหมาย รองหัวหน้าพรรคไทยรักไทย
- 15 พฤษภาคม 2541 กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- 12 กรกฎาคม 2543 กรรมการกฤษฎีกา
- 22 กันยายน 2544 กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
- 13 กันยายน 2545 กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- 20 กันยายน 2546 กรรมการกฤษฎีกา
- 22 มิถุนายน 2547 กรรมการคดีพิเศษประเภทกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามพระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษ พ.ศ.2547 ด้านกฎหมาย
- 16 ตุลาคม 2549 กรรมการกฤษฎีกา
- 31 ตุลาคม 2549 กรรมการคดีพิเศษ
ประธานสอบคดีฆ่าตัดตอนในช่วงการประกาศสงครามยาเสพติดของรัฐบาลทักษิณ
ประธานกรรมการบัณฑิตศึกษา คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
กรรมการพัฒนากฎหมาย กรรมการพิจารณาทบทวนกฎหมายอาญา สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
กรรมการข้าราชการพลเรือน ในสถาบันอุดมศึกษา
ประธานคณะกรรมการอิสระตรวจสอบ ศึกษาและวิเคราะห์การกำหนดนโยบายปราบปรามยาเสพติดให้ โทษและการนำนโยบายไปปฏิบัติจนเกิดความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย ชื่อเสียง และทรัพย์สินของประชาชน (คตน.)
คณบดี คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
- 13 พฤศจิกายน 2550 ประธานกรรมการปฏิรูปกฎหมาย
- 16 ตุลาคม 2552 กรรมการกฤษฎีกา
เครื่องราช :
- ปี 2539 นิติโดมดีเด่น
- ปี 2539 ได้รับยกย่องเชิดชูในฐานะผู้ทำคุณประโยชน์ต่อเยาวชน สาขากฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิเด็กและเยาวชน
- 10 กันยายน 2550 เข็มเกียริตยศ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น