ดร.สุรชาติ บำรุงสุข

10 พ.ย. 2552



รองศาสตราจารย์ ดร.สุรชาติ บำรุงสุข เป็นผู้มีความเชี่ยวชาญทางด้านยุทธศาสตร์ การรบ และสงคราม ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเป็นอาจารย์ประจำภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเนื้อหา [ซ่อน]

1 การศึกษา
2 ราชการพิเศษ
3 งานวิจัย
4 หนังสือ
5 จุลสาร
6 บทความภาษาอังกฤษ
7 หนังสือและจุลสารภาษาอังกฤษ
8 บทความเสนอในการสัมมนาระหว่างประเทศ

[แก้]
การศึกษา

รัฐศาสตร์บัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

M.A. in Government, Cornell University (New York, U.S.A.)

M. Phil in Political Science, Columbia University (New York, U.S.A.)

Ph.D. in Political Science, Columbia University (New York, U.S.A.)
[แก้]
ราชการพิเศษ

คณะอนุกรรมการเฉพาะกิจศึกษาพัฒนานโยบายความมั่นคงแห่งชาติด้านการป้องกันประเทศ และยุทธศาสตร์ชาติ สภาความมั่นคงแห่งชาติ (2539)

ที่ปรึกษา สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ กองบัญชาการทหารสูงสุด (2540)

กรรมการในคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารด้านต่างประเทศและความมั่นคงของประเทศ (2541)


[แก้]
งานวิจัย

จากสงครามเย็น.....สู่สันติภาพเย็น : ความสืบเนื่องและความเปลี่ยนแปลงของปัญหาความมั่นคงไทย ใน ค.ศ. 2000 (สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2539)

นโยบายการป้องกันประเทศของจีน : ปัญหาเก่า - เวลาใหม่ (สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2539)


[แก้]
หนังสือ

ทหารกับประชาธิปไตยไทย : จาก 14 ตุลา สู่ปัจจุบันและอนาคต (2541)

ยกเครื่องเรื่องทหาร : ข้อเสนอสำหรับกองทัพไทยในศตวรรษที่ 21 (ผู้เขียน, 2540)

สังคมต้องรู้เรื่องทหาร : ทำไม - อย่างไร (ผู้เขียน, 2540)

ความสัมพันธ์พลเรือนทหาร : เปรียบเทียบไทย - สหรัฐ (ผู้เขียน, 2539)

เรือดำน้ำ : การขยายสมุททานุภาพในเอเชีย - แปซิฟิค (ผู้เขียน, 2539)

ค.ศ. 2000 : ยุทธศาสตร์โลกหลังสงครามเย็น (ผู้เขียน, 2537)

ยุทธศาสตร์ : แนวคิดและกรณีศึกษา (เขียนร่วม, 2536)

มนุษย์กับสงคราม : ประวัติศาสตร์ทหารของโลกตะวันตก (ผู้เขียน, 2534, 2535)

ระบบทหารไทย (บรรณาธิการและผู้เขียน, 2530)

นานาทัศนะว่าด้วยคลังอาวุธสำรอง (บรรณาธิการและผู้เขียน, 2530)

ความสัมพันธ์ทางทหารไทย - สหรัฐ : ยุคเปรม - เรแกน (ผู้เขียน, 2529)

รัฐและกองทัพในประเทศโลกที่สาม (ผู้เขียน, 2529)

เอฟ - 16 กับการเมืองไทย (บรรณาธิการและผู้เขียน, 2528)


[แก้]
จุลสาร

สหรัฐอเมริกา : อำนาจทางทหารยุคหลังสงครามเย็น (2539)

ความรู้เบื้องต้นว่าด้วยอาวุธและยุทธศาสตร์นิวเคลียร์ (2531)

อาวุธนิวเคลียร์กับการเมืองโลก (2530)

ความสัมพันธ์ทางทหารระหว่างประเทศพัฒนาแล้วกับประเทศกำลังพัฒนา (2529)

อุตสาหกรรมอาวุธในประเทศโลกที่สาม (2528)

ความช่วยเหลือทางทหารของสหรัฐกับระบบทหารไทยยุคหลังสงครามเวียดนาม (2525)

ความรู้เบื้องต้นว่าด้วยการเจรจาจำกัดอาวุธทางยุทธศาสตร์ (2522)


[แก้]
บทความภาษาอังกฤษ

“Changing Patterns of Civil - Military’s Relations and Thailand’s Regional Outlook” in David R.Marcs, ed, Comparative Civil - Military Relations in Latin America, Asia, and Africa (Westview Press, 1997)


[แก้]
หนังสือและจุลสารภาษาอังกฤษ

Thailand’s Security Policy Since the Invasion of Kampuchea (1988)

United States Foreign Policy and Thai Military Rule, 1947 - 1977 (1988)


[แก้]
บทความเสนอในการสัมมนาระหว่างประเทศ

New Strengths - Old Weaknesses : Thailand’s Civil - Military Relations into the 2000s (Hong Kong, 1996)

Constructive or Destructive Engagement? : Thai Foreign Policy Towards Burma (Boston, U.S.A.1994)

Military - Initiated Transition in Thailand : Causes, Costs and Consequences (Bangkok, 1992)

The Military and Democratization : Transition Through Transaction in Thailand, 1977 - 88 (New Orleans, U.S.A.1991)

Thailand and Kamphuchea Conflict : The Development of Thai Security Policy in The Kampuchean Conflict (Clearmout, U.S.A.1987)

Alternative Defense in Thailand (Hadyai, Thailand 1986)

The Military and The Thai State (Penang, Malaysia 1985)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น